shutterstock_85401589s
shutterstock_305607704
shutterstock_150276857
  • หน้าแรก

  • เกี่ยวกับเรา

  • ข่าวและบทความ

  • กิจกรรม

  • ความก้าวหน้าและงานวิจัย

  • อบรม

  • สื่อการสอน

  • ส่งต่อผู้ป่วย

  • ติดต่อเรา

  • More

    การตรวจคลื่นสมอง

     

    การตรวจคลื่นสมองในโรคลมชัก แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

     

    1. ตรวจในขณะที่ผู้ป่วยไม่ชักเรียกว่า คลื่นสมองระหว่างชัก (Interictal หรือ Routine EEG)

    สมองของคนที่เป็นโรคลมชัก ในขณะที่เขายังไม่ชักนั้นก็อาจปล่อยไฟฟ้าที่ผิดปกติออกมาเป็นครั้งคราวให้เราเห็นได้ ซึ่งจะช่วยยืนยันว่าเป็นโรคลมชักและยังบอกตำแหน่งของสมอง ที่ปล่อยไฟฟ้าที่ผิดปกติออกมาว่า มาจากส่วนใด และบ่งชี้ว่าเป็นโรคลมชักชนิดใด

     

    2. ตรวจในขณะที่ผู้ป่วยกำลังชัก (Ictal EEG) เราจะเห็นไฟฟ้าเกิดขึ้นและกระจายจากตำแหน่งหนึ่งไปยังส่วนอื่นๆ ของสมอง ขณะที่ผู้ป่วยเกิดอาการชัก ทำให้ทราบลักษณะและชนิดของอาการชัก ตลอดจนจุดกำเนิดอาการชัก เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาผ่าตัดให้หายขาดจากโรคลมชัก

     

     

     

    Tags:

    general

    Please reload

    family

    general

    Please reload

    Tags

    การชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว (ลมบ้าหมู) Generalized Tonic-Clonic Seizures หรือ GTC

    อาการชักแบบทำอะไรไม่รู้ตัว (Complex Partial Seizures, Psychomotor หรือ Temporal Lobe Seizures หรือ CPS)

    อาการชักแบบเหม่อ (Absence Seizures หรือ Petit Mal)

    แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคลมชักในขณะที่มีการตั้งครรภ์

    โรคลัมชักคืออะไร ?

    Please reload

    Recent Posts

    อะไรทำให้เกิดโรคลมชัก ?

    1/1
    Please reload

    Featured Posts
    Home

    โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 
    1873 ถนนพระราม 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

    โทรศัพท์ : 02-256-4627  โทรสาร : 02-256-4612

    • Facebook Social Icon
    • Twitter Social Icon
    • Google+ Social Icon
    • YouTube Social  Icon