shutterstock_85401589s
shutterstock_305607704
shutterstock_150276857
  • หน้าแรก

  • เกี่ยวกับเรา

  • ข่าวและบทความ

  • กิจกรรม

  • ความก้าวหน้าและงานวิจัย

  • อบรม

  • สื่อการสอน

  • ส่งต่อผู้ป่วย

  • ติดต่อเรา

  • More

    การแต่งงาน

               ผู้ป่วยโรคลมชักสามารถที่จะแต่งงานและมีบุตรได้เช่นคนทั่วไป สิ่งแรกที่คุณควรทราบก็คือโรคลมชักไม่มีผลต่อเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิดหรือการมีบุตร คุณสามารถปรึกษาหมอได้หากมีข้อข้องใจใดๆ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคลมชักจะเคยชินกับคำถามต่าง ๆ ที่คุณอาจรู้สึกอายที่จะถาม

                คนที่เป็นโรคนี้อาจแปลกใจที่มีคนปกติแต่งงานด้วย มักจะมีคำถามมากมายเหมือนกับไม่เชื่อว่าเป็นเรื่องจริง สิ่งสำคัญอยู่ที่ความจริงใจต่อกัน ความเข้าใจซึ่งกันและกัน และบางครั้งอาจจะต้องปรึกษาหารือกันอย่างเปิดเผย

                หากมีบุตร โอกาสที่บุตรนะเป็นโรคลมชักมีน้อยหากพ่อและแม่ไม่ได้มาจากครอบครัวที่มีประวัติป่วยด้วยโรคนี้ อย่างไรก็ตาม คุณอาจปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคลมชักถึงปัญหานี้ได้

    Tags:

    general

    Please reload

    family

    general

    Please reload

    Tags

    การชักแบบเกร็งกระตุกทั้งตัว (ลมบ้าหมู) Generalized Tonic-Clonic Seizures หรือ GTC

    อาการชักแบบทำอะไรไม่รู้ตัว (Complex Partial Seizures, Psychomotor หรือ Temporal Lobe Seizures หรือ CPS)

    อาการชักแบบเหม่อ (Absence Seizures หรือ Petit Mal)

    แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคลมชักในขณะที่มีการตั้งครรภ์

    โรคลัมชักคืออะไร ?

    Please reload

    Recent Posts

    อะไรทำให้เกิดโรคลมชัก ?

    1/1
    Please reload

    Featured Posts
    Home

    โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 
    1873 ถนนพระราม 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 

    โทรศัพท์ : 02-256-4627  โทรสาร : 02-256-4612

    • Facebook Social Icon
    • Twitter Social Icon
    • Google+ Social Icon
    • YouTube Social  Icon